ความหมายของอินเตอร์เน็ต
คือระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่ใหญ่ที่สุดในโลกซึ่งเกิดจากระบบคอมพิวเตอร์เครือข่ายย่อย หลาย ๆ aเครือข่ายรวมตัวกันเป็นระบบเครือข่ายขนาดใหญ่ ซึ่งขยายความได้ดังนี้ คือ
การที่คอมพิวเตอร์ตั้งแต่ 2 เครื่องขึ้นไป สามารถติดต่อสื่อสารซึ่งกันและกันได้โดยผ่านสาย Cable หรือ สายโทรศัพท์ ดาวเทียม ฯลฯ การติดต่อนั้นจะเป็นการแลกเปลี่ยนข้อมูลซึ่งกันและกัน หรือใช้อุปกรณ์ร่วมกัน เช่น ใช้ Printer หรือ CD-Rom ร่วมกัน เราเรียกพฤติกรรมของคอมพิวเตอร์ลักษณะนี้ว่า เครือข่าย (Network) ซึ่งเมื่อมีจำนวนคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายมากขึ้น และมีการเชื่อมโยงกันไปทั่วโลก จนกลายเป็นเครือข่ายขนาดใหญ่ เราเรียกสิ่งนี้ว่า อินเตอร์เน็ต นั่นเอง
การที่คอมพิวเตอร์สามารถติดต่อสื่อสารกันได้นั้น ว่าไปแล้วก็เปรียบเหมือนคนเรา คือต้องมีภาษาพูดคุยกันโดยเฉพาะคนไทยก็พูดภาษาไทย คนอังกฤษก็ต้องพูดภาษาอังกฤษ และภาษาอังกฤษได้ถูกกำหนดเป็นภาษาสากลในการติดต่อสื่อสารกันของทุกประเทศทั่วโลก สำหรับคอมพิวเตอร์ในระบบอินเตอร์เน็ตนั้น ก็มีภาษาที่ใช้คุยกันเหมือนกัน ซึ่งที่ทำให้คอมพิวเตอร์สามารถติดต่อสื่อสารซึ่งกันและกันได้ พูดคุยกันรู้เรื่องนั่นเอง ซึ่งเราเรียกว่าภาษาที่ใช้สื่อสารกันระหว่างคอมพิวเตอร์ว่า โปรโตคอล (Protocol)
เราลองคิดดูว่าเมื่อคอมพิวเตอร์ติดต่อสื่อสารกันนั้น อาจเป็นคอมพิวเตอร์จากเมืองไทย ติดต่อกับคอมพิวเตอร์ที่อเมริกา ซึ่งต้องมีความแตกต่างกันของชนิดเครื่องทาง Hardware และระบบปฏิบัติการ (Operating System) ทาง Software แล้วถ้าคิดถึงทั่วโลกย่อมต้องมีความหลากหลายทาง Hardware และ Software กันมากมาย แต่ทำไมปัจจุบันคอมพิวเตอร์จึงสามารถติดต่อสื่อสารกันได้ ที่เป็นอย่างนี้ก็เพราะ คอมพิวเตอร์ในระบบอินเตอร์เน็ตนั้น จะมีภาษาสากลใช้สื่อสารกันโดยเฉพาะ คือเรียกว่ามี Protocol เฉพาะนั่นเอง ซึ่งเราเรียก Protocolเฉพาะนี้ว่า TCP/IP โดยย่อมาจากคำว่า Transmission Control Protocol (TCP) Internet Protocol (IP) นั่นเอง
1. การสื่อสารบนอินเตอร์เน็ต ไม่จำกัดระบบปฏิบัติการของเครื่องคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ที่ต่างระบบปฏิบัติการกันก็สามารถติดต่อ สื่อสารกันได้ เช่น คอมพิวเตอร์ที่มีระบบปฏิบัติการแบบ Windows 95 สามารถสื่อสารกับคอมพิวเตอร์ที่มีระบบปฏิบัติการแบบ Macintoshได้
2. อินเตอร์เน็ตไม่มีข้อจำกัดในเรื่องของระยะทาง ไม่ว่าจะอยู่ภายในอาคารเดียวกัน หรือห่างกันคนละทวีป ข้อมูลก็สามารถส่งผ่านถึง กันได้
3. อินเตอร์เน็ตไม่จำกัดรูปแบบของข้อมูล ซึ่งมีได้ทั้งข้อมูลที่เป็นข้อความอย่างเดียว หรืออาจมีภาพประกอบ รวมไปถึงข้อมูลชนิด มัลติมีเดีย คือมีทั้งภาพเคลื่อนไหวและมีเสียงประกอบด้วยได้
*** คำอื่นที่ใช้ในความหมายเดียวกันกับอินเตอร์เน็ต คือ Information Superhighway และ Cyberspace
|
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
รูปแบบการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตมีอยู่ 2 แบบ ตามลักษณะการใช้งานซึ่งจะมีความเร็วและค่าใช้จ่ายแตกต่างกันไป ดังนี้
1. การเชื่อมต่อแบบส่วนบุคคล
1. การเชื่อมต่อแบบส่วนบุคคล
เป็นการเชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์ผ่านคู่สายโทรศัพท์หนึ่งเลขหมายไปยังผู้ให้บริการ (คิดค่าบริการตามจำนวนชั่วโมงในการใช้งาน) ปัจจัยที่มีผลต่อความเร็วได้แก่ สายสัญญาณโทรศัพท์ โมเด็มและความหนาแน่นของสมาชิกที่ใช้งานในขณะนั้น ผู้ใช้บริการสามารถกระจายสัญญาณไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น ๆ ให้ท่องอินเทอร์เน็ตได้ในเวลาเดียวกัน
2. การเชื่อมต่อแบบองค์กร
เป็นการเชื่อมต่อที่มีความเร็วสูงกว่าแบบส่วนบุคคลและเป็นการเชื่อมต่อแบบถาวรตลอดเวลากับผู้ให้บริการด้วยสายเช่า (Lease Line) และใช้อุปกรณ์พิเศษ เช่น Digital Modem, Router ค่าใช้จ่ายจะสูงกว่าแบบส่วนบุคคล เหมาะสำหรับองค์กรขนาดใหญ่ที่มีเครื่องลูกข่ายจำนวนมาก
วิธีการติดต่อเช้าระบบอินเทอร์เน็ตทำได้ 3 วิธี คือ
1. การเชื่อมต่อโดยตรง (Direct Internet Access)/b>
1. การเชื่อมต่อโดยตรง (Direct Internet Access)/b>
เป็นการเชื่อมต่อโดยตรงกับสายหลักของอินเทอร์เน็ต โดยผ่านอุปกรณ์ที่เรียกว่า Gateway ร่วมกับสายสัญญาณความเร็วสูงโดยตรงกับInterNIC ซึ่งสามารถติดต่อกับอินเทอร์เน็ตได้ตลอดเวลา แต่เสียค่าใช้จ่ายสูง
2. การเชื่อมต่อผ่านสายโทรศัพท์ (Dial-Up Access)
เป็นการเชื่อมต่อกับผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตเพื่อเป็นทางผ่านเข้าสู่ระบบอินเทอร์เน็ต
3. การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแบบไร้สาย (Wireless Internet) มีวิธีการหลากหลาย ได้แก่
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแบบไร้สายผ่านเครื่องโทรศัพท์เคลื่อนที่ PCT เป็นการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตผ่านคอมพิวเตอร์ Note book และคอมพิวเตอร์แบบพกพา (Pcoket PC) ผู้ใช้จะต้องมี โมเด็ม ชนิด PCMCIA ของ PCT ซึ่งทำให้ผู้ใช้สามารถใช้อินเทอร์ไร้สายได้ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
การใช้งานอินเทอร์เน็ตผ่านโทรศัพท์มือถือโดยตรง (Mobile Internet) เช่น
* WAP (Wireless Application Protocal)
* GPRS(General Packet Radio Service)
* CDMA (Code Division Multiple Access)
* BLUETOOTH TECHNOLOGY
* GPRS(General Packet Radio Service)
* CDMA (Code Division Multiple Access)
* BLUETOOTH TECHNOLOGY
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตด้วยเครื่อง Palm และ Notebook ผ่านโทรศัพท์มือถือที่สนับสนุนระบบ GPRS ซึ่งโทรศัพท์ที่สนับสนุนระบบ GPRS จะทำหน้าที่เสมือนเป็นโมเด็มให้กับอุปกรณ์ที่นำมาต่อพ่วง
ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลกันได้รวดเร็ว มีการใช้ทรัพยากรร่วมกันโดยผ่านสายสื่อสาร ซึ่งเราเรียกว่า การเชื่อมต่อแบบเครือข่าย (Network) ถ้าต่อเชื่อมกันใกล้ ๆ ในพื้นที่เดียวกันเรียกว่า LAN (Local Area Network) ถ้าการเชื่อมต่อเครือข่ายทางภูมิศาสตร์ที่ใหญ่ขึ้นกว่า LAN เรียกว่า MAN (Metropolitan Area Network) ถ้าเชื่อมต่อกันไกล ๆเช่น ข้ามประเทศเรียกว่า WAN (Wide Area Network)
การดำเนินธุรกิจในยุคโลกาภิวัฒน์หรือยุคเทคโนโลยีสารสนเทศนั้น ข้อมูลต่าง ๆ ขององค์กรมีความสำคัญอย่างมาก และถือเป็นหนึ่งในทรัพย์สินที่มีค่าที่สุด และถือเป็นหนึ่งในทรัพย์สินที่มีค่าที่สุด สำหรับการดำเนินธุรกิจในปัจจุบัน ซึ่งผู้บริหารและองค์กรที่เล็งเห็นถึงประโยชน์ จากการใช้เครือข่ายเทคโนโลยีสารสนเทศที่ชาญฉลาดในการสื่อสารข้อมูลต่าง ๆ อย่างมีประสิทธิภาพเท่านั้น ที่จะได้พบความสำเร็จในการเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน ตลอดจนสามารถสร้างโอกาสให้กับองค์กรให้มีความได้เปรียบในเชิงธุรกิจ ในยุคเศรษฐกิจแบบโลกาภิวัฒน์ที่มีการแข่งขันกันสูง และมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว
การเพิ่มขีดความสามารถและความชาญฉลาดเข้าไปในระบบเครือข่ายอย่างมากมาย ผลที่ตามมาก็คือ โครงสร้างพื้นฐานในการสื่อสารที่ได้รับการปรับปรุงประสิทธิภาพสำหรับการสื่อสารทั้งทางด้านเสียง ภาพและข้อมูลในระบบเครือข่าย หรือถ้าจะพูดให้ง่ายเข้าก็อาจจะเรียกสั้น ๆ ได้ว่าเป็นระบบเครือข่ายสารสนเทศอัจฉริยะ ซึ่งจะเป็นระบบสารสนเทศที่ประกอบไปด้วยความคล่องตัว
การดำเนินธุรกิจในยุคโลกาภิวัฒน์หรือยุคเทคโนโลยีสารสนเทศนั้น ข้อมูลต่าง ๆ ขององค์กรมีความสำคัญอย่างมาก และถือเป็นหนึ่งในทรัพย์สินที่มีค่าที่สุด และถือเป็นหนึ่งในทรัพย์สินที่มีค่าที่สุด สำหรับการดำเนินธุรกิจในปัจจุบัน ซึ่งผู้บริหารและองค์กรที่เล็งเห็นถึงประโยชน์ จากการใช้เครือข่ายเทคโนโลยีสารสนเทศที่ชาญฉลาดในการสื่อสารข้อมูลต่าง ๆ อย่างมีประสิทธิภาพเท่านั้น ที่จะได้พบความสำเร็จในการเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน ตลอดจนสามารถสร้างโอกาสให้กับองค์กรให้มีความได้เปรียบในเชิงธุรกิจ ในยุคเศรษฐกิจแบบโลกาภิวัฒน์ที่มีการแข่งขันกันสูง และมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว
การเพิ่มขีดความสามารถและความชาญฉลาดเข้าไปในระบบเครือข่ายอย่างมากมาย ผลที่ตามมาก็คือ โครงสร้างพื้นฐานในการสื่อสารที่ได้รับการปรับปรุงประสิทธิภาพสำหรับการสื่อสารทั้งทางด้านเสียง ภาพและข้อมูลในระบบเครือข่าย หรือถ้าจะพูดให้ง่ายเข้าก็อาจจะเรียกสั้น ๆ ได้ว่าเป็นระบบเครือข่ายสารสนเทศอัจฉริยะ ซึ่งจะเป็นระบบสารสนเทศที่ประกอบไปด้วยความคล่องตัว
ปลอดภัย มีประสิทธิภาพ และสามารถปรับแต่ง หรือเพิ่มขยายได้โดยทุกส่วนขององค์ประกอบที่ได้กล่าวมานั้น สามารถทำงานร่วมกันได้อย่าง
มีประสิทธิภาพ ซึ่งในเชิงธุรกิจแล้วนั้นจะมีผลกระทบโดยตรงต่อเป้าหมายขององค์กรธุรกิจ จากการที่ระบบเครือข่ายสารสนเทศได้เข้ามาผลักดันให้องค์กรทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและย่นระยะเวาลาในการดำเนินโครงการต่าง ๆ
ซึ่งหมายความว่า องค์กรนั้น ๆ จะสามารถปรับตัวได้อย่างรวดเร็วตามสภาวะการณ์ของตลาดในปัจจุบันที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ซึ่งถือเป็นเรื่องธรรมดาสำหรับเศรษฐกิจในยุคโลกาภิวัฒน์ที่ได้ย่นย่อโลกของเราให้เล็กลงอย่างที่ไม่เคยมีใครคาดคิดมาก่อน
อินเทอร์เน็ต (Internet)
เทคโนโลยีเครือข่ายในปัจจุบันได้พิสูจน์แล้วว่า เป็นแรงผลักดันในการเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน และช่วยให้การใช้ชีวิตสะดวกง่ายดายยิ่งขึ้น ไม่ว่าจะเป็นด้านการทำงาน การเล่น และการเรียนรู้ สำหรับผู้บริหารที่มองโลกในแง่ดีสักหน่อยก็คงเห็นด้วยว่าการนำเทคโนโลยีด้านเครือข่ายและสารสนเทศมาใช้งานนั้น สามารถช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานได้อย่างมาก ไม่ว่าจะเป็นองค์กรทางภาครัฐหรือภาคเอกชน เทคโนโลยีเครือข่ายที่มักจะนำมาใช้นั้นที่เรารู้จักกันอย่างก็คือ “อินเทอร์เน็ต (Internet)”
อินเทอร์เน็ต (Internet) คือ เครือข่ายคอมพิวเตอร์รูปแบบหนึ่ง แต่เนื่องจากมีขนาดใหญ่ มีผู้ใช้งานหลายสิบล้านคนกระจายไปทั่วโลก จึงมีข้อมูลมากมายมหาศาลแลกเปลี่ยนกันในเครือข่าย สำหรับประเทศไทยนั้น อินเทอร์เน็ตเริ่มมีบทบาทอย่างมากในช่วงปี 2530 –2535 โดยเริ่มจากการเป็นเครือข่ายในระบบคอมพิวเตอร์สถาบันการศึกษาโดยมีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีแห่งเอเซีย สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า เจ้าคุณทหารลาดกระบัง และจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นสถาบันแรก ๆ แล้วจึงเชื่อมต่อเข้าสู่อินเทอร์เน็ตอย่างสมบูรณ์เมื่อเดือนสิงหาคม 2535 จึงมีการเปิดให้บริการอินเทอร์เน็ตในเชิงพาณิชย์ โดยบริษัทแรกที่เปิดดำเนินการเป็นผู้บริการอินเทอร์เน็ต ISP คือบริษัท KSC คอมเมอเชียล อินเทอร์เน็ต หลังจากนั้นก็มีการใช้อินเทอร์เน็ตอย่างแพร่หลายและเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว ซึ่งขณะนี้เวิร์ลด์ไวด์เว็บ (www.) กำลังได้รับความนิยมอย่างมากในอเมริกา อย่างไรก็ตาม อินเทอร์เน็ต บางครั้งก็มีการเรียกย่อเป็น เน็ต (Net) หรือ The Net ด้วยเช่นเดียวกัน อีกคำหนึ่งที่หมายถึงอินเทอร์เน็ตก็คือ เว็บ (Web) และ เวิร์ลด์ไวด์เว็บ (World–Wide–Web) จริง ๆ แล้ว เว็บเป็นเพียงบริการหนึ่งของอินเทอร์เน็ตเท่านั้น แต่บริการนี้ถือว่าเป็นบริการที่มีผู้นิยมใช้มากที่สุด
เทคโนโลยีเครือข่ายในปัจจุบันได้พิสูจน์แล้วว่า เป็นแรงผลักดันในการเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน และช่วยให้การใช้ชีวิตสะดวกง่ายดายยิ่งขึ้น ไม่ว่าจะเป็นด้านการทำงาน การเล่น และการเรียนรู้ สำหรับผู้บริหารที่มองโลกในแง่ดีสักหน่อยก็คงเห็นด้วยว่าการนำเทคโนโลยีด้านเครือข่ายและสารสนเทศมาใช้งานนั้น สามารถช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานได้อย่างมาก ไม่ว่าจะเป็นองค์กรทางภาครัฐหรือภาคเอกชน เทคโนโลยีเครือข่ายที่มักจะนำมาใช้นั้นที่เรารู้จักกันอย่างก็คือ “อินเทอร์เน็ต (Internet)”
อินเทอร์เน็ต (Internet) คือ เครือข่ายคอมพิวเตอร์รูปแบบหนึ่ง แต่เนื่องจากมีขนาดใหญ่ มีผู้ใช้งานหลายสิบล้านคนกระจายไปทั่วโลก จึงมีข้อมูลมากมายมหาศาลแลกเปลี่ยนกันในเครือข่าย สำหรับประเทศไทยนั้น อินเทอร์เน็ตเริ่มมีบทบาทอย่างมากในช่วงปี 2530 –2535 โดยเริ่มจากการเป็นเครือข่ายในระบบคอมพิวเตอร์สถาบันการศึกษาโดยมีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีแห่งเอเซีย สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า เจ้าคุณทหารลาดกระบัง และจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นสถาบันแรก ๆ แล้วจึงเชื่อมต่อเข้าสู่อินเทอร์เน็ตอย่างสมบูรณ์เมื่อเดือนสิงหาคม 2535 จึงมีการเปิดให้บริการอินเทอร์เน็ตในเชิงพาณิชย์ โดยบริษัทแรกที่เปิดดำเนินการเป็นผู้บริการอินเทอร์เน็ต ISP คือบริษัท KSC คอมเมอเชียล อินเทอร์เน็ต หลังจากนั้นก็มีการใช้อินเทอร์เน็ตอย่างแพร่หลายและเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว ซึ่งขณะนี้เวิร์ลด์ไวด์เว็บ (www.) กำลังได้รับความนิยมอย่างมากในอเมริกา อย่างไรก็ตาม อินเทอร์เน็ต บางครั้งก็มีการเรียกย่อเป็น เน็ต (Net) หรือ The Net ด้วยเช่นเดียวกัน อีกคำหนึ่งที่หมายถึงอินเทอร์เน็ตก็คือ เว็บ (Web) และ เวิร์ลด์ไวด์เว็บ (World–Wide–Web) จริง ๆ แล้ว เว็บเป็นเพียงบริการหนึ่งของอินเทอร์เน็ตเท่านั้น แต่บริการนี้ถือว่าเป็นบริการที่มีผู้นิยมใช้มากที่สุด
บริการต่าง ๆ ของอินเตอร์เน็ต
WWW (World Wide Web) คือ บริการข่าวสารผ่านทางหน้าเอกสารอินเทอร์เน็ต (เว็บเพจ) มีรูปแบบเหมือนกับสื่อสิ่งพิมพ์อื่น ๆ เช่น นิตยสารและหนังสือ แต่มีข้อดีที่ตัวหนังสือของเว็บเพจสามารถเชื่อมโยงไปยังเว็บเพจอื่น ๆ ได้ทำให้การค้นหาข้อมูลทำได้โดยง่าย และยังสามารถเผยแพร่ข้อมูลได้ทั่วโลกได้ทันทีในราคาถูก ข้อมูลมีทั้งรูปภาพ ข้อความ ภาพเคลื่อนไหว เสียง และวีดีโด ข้อมูลอยู่ในรูป Interactive Multimedia
FTP (File Transfer Protocol) คือ บริการไฟล์ผ่านทางอินเทอร์เน็ต เราสามารถนำไฟล์รูปภาพ เสียง ฯลฯ ลงมาเก็บที่เครื่องของเราโดยผ่านโปรแกรมในการเชื่อมต่อหรือผ่านทางอินเตอร์เน็ตก็ได้
E–mail (electronic mail) คือ บริการจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ มีความสามารถเหมือนกับจดหมายจริง ๆ แต่ส่งผ่านไปหรือรับทางเครือข่าย
WWW (World Wide Web) คือ บริการข่าวสารผ่านทางหน้าเอกสารอินเทอร์เน็ต (เว็บเพจ) มีรูปแบบเหมือนกับสื่อสิ่งพิมพ์อื่น ๆ เช่น นิตยสารและหนังสือ แต่มีข้อดีที่ตัวหนังสือของเว็บเพจสามารถเชื่อมโยงไปยังเว็บเพจอื่น ๆ ได้ทำให้การค้นหาข้อมูลทำได้โดยง่าย และยังสามารถเผยแพร่ข้อมูลได้ทั่วโลกได้ทันทีในราคาถูก ข้อมูลมีทั้งรูปภาพ ข้อความ ภาพเคลื่อนไหว เสียง และวีดีโด ข้อมูลอยู่ในรูป Interactive Multimedia
FTP (File Transfer Protocol) คือ บริการไฟล์ผ่านทางอินเทอร์เน็ต เราสามารถนำไฟล์รูปภาพ เสียง ฯลฯ ลงมาเก็บที่เครื่องของเราโดยผ่านโปรแกรมในการเชื่อมต่อหรือผ่านทางอินเตอร์เน็ตก็ได้
E–mail (electronic mail) คือ บริการจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ มีความสามารถเหมือนกับจดหมายจริง ๆ แต่ส่งผ่านไปหรือรับทางเครือข่าย
อินเทอร์เน็ตแทน ทำให้เร็วและประหยัดกว่าการส่งจดหมายแบบเดิม
IRC (Internet Relay Chat) เป็นแหล่งพูดคุยกันในอินเทอร์เน็ต สามารถคุยโต้ตอบกันได้ทันที โยการพิมพ์ข้อความ โดยผ่านโปรแกรม
IRC (Internet Relay Chat) เป็นแหล่งพูดคุยกันในอินเทอร์เน็ต สามารถคุยโต้ตอบกันได้ทันที โยการพิมพ์ข้อความ โดยผ่านโปรแกรม
เช่น Pirch, ICQ, Qq–thai เป็นต้น
ค้นหาข้อมูล (Search Engine) เนื่องจากข้อมูลบนอินเทอร์เน็ตมีมากมายเราจึงจำเป็นต้องมีการค้นหาเพื่อให้รวดเร็วและสะดวก ประหยัดเวลาด้วย
Home – page ผู้บริหารสามารถทำ Home – page ของบุคคลหรือองค์กรธุรกิจได้ เพื่อเป็นการประชาสัมพันธ์ธุรกิจให้เป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวาง
การทำธุรกิจบนอินเทอร์เน็ต (E–Commerce) เป็นการซื้อขายสินค้าและบริการผ่านอินเทอร์เน็ต โดยการสร้าง Home–page และใส่รายละเอียดของสินค้าลงไป ถ้ามีผู้สนใจก็สามารถเข้าไปดูรายละเอียดและเจรจาต่อรองหรือสั่งซื้อได้เลย
ปัจจุบันการใช้อินเทอร์เน็ตแพร่หลายใช้ได้สะดวกสบายขึ้น มีการเชื่อมต่อกับโทรศัพท์มือถือ สำหรับผู้บริหารที่ใช้คอมพิวเตอร์พกพา โน๊ตบุกส์หรือ
ค้นหาข้อมูล (Search Engine) เนื่องจากข้อมูลบนอินเทอร์เน็ตมีมากมายเราจึงจำเป็นต้องมีการค้นหาเพื่อให้รวดเร็วและสะดวก ประหยัดเวลาด้วย
Home – page ผู้บริหารสามารถทำ Home – page ของบุคคลหรือองค์กรธุรกิจได้ เพื่อเป็นการประชาสัมพันธ์ธุรกิจให้เป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวาง
การทำธุรกิจบนอินเทอร์เน็ต (E–Commerce) เป็นการซื้อขายสินค้าและบริการผ่านอินเทอร์เน็ต โดยการสร้าง Home–page และใส่รายละเอียดของสินค้าลงไป ถ้ามีผู้สนใจก็สามารถเข้าไปดูรายละเอียดและเจรจาต่อรองหรือสั่งซื้อได้เลย
ปัจจุบันการใช้อินเทอร์เน็ตแพร่หลายใช้ได้สะดวกสบายขึ้น มีการเชื่อมต่อกับโทรศัพท์มือถือ สำหรับผู้บริหารที่ใช้คอมพิวเตอร์พกพา โน๊ตบุกส์หรือ
แลปท็อป ก็สามารถใช้อินเทอร์เน็ตไร้สายได้ในทุกสถานที่
ในปัจจุบันการนำเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตเข้ามาใช้ในการดำเนินงานมากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการปฏิวัติธุรกิจจากการดำเนินธุรกิจแบบดั้งเดิมมาเป็นธุรกิจ
ในปัจจุบันการนำเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตเข้ามาใช้ในการดำเนินงานมากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการปฏิวัติธุรกิจจากการดำเนินธุรกิจแบบดั้งเดิมมาเป็นธุรกิจ
แบบอีบิสิเนส (e – Business) หมายถึง การนำเทคโนโลยีมาใช้ในทุกระบวนการของการทำงานในองค์กรธุรกิจทั่วไปและการสร้างประบวนการโต้ตอบและแลกเปลี่ยนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์
ระหว่างองค์กร เช่น การนำระบบการจัดซื้อออนไลน์ (e–Procurement) หมายถึง การจัดซื้อจัดจ้างโดยผ่านระบบอินเทอร์เน็ตของหน่วยงานภาครัฐระดับกรมหรือระดับกระทรวง เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาลในการนำเอาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ประโยชน์กับหน่วยงานภาครัฐอย่างเป็นรูปธรรมการทำธุรกิจ
ออนไลน์ (e-Commerce) เข้ามาใช้ในการติดต่อสัมพันธ์กับเครือข่ายภายนอกองค์กร หรือแม้กระทั่งการนำเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตมาใช้งานในการสื่อสารภายในองค์กร เช่น การจัดให้มีระบบ Intranet ขึ้นในองค์กรเพื่อใช้ในการแจ้งถึงนโยบายและวิธีการปฏิบัติต่างให้กับพนักงานตลอดจนมีการพัฒนามาใช้ในการฝึกอบรม (e-learning) ภายในองค์กรซึ่งเป็นการลดค่าใช้จ่ายได้อย่างมาก
อินทราเน็ตและเอ็กซ์ทราเน็ต (Intranet and Extranet)
เนื่องจากอินเทอร์เน็ตได้รับความสนใจและมีประโยชน์มากสำหรับองค์กรต่าง ๆ เพราะสามารถสื่อสารคนจำนวนมากเข้าด้วยกัน เพื่อเผยแพร่ข้อมูลโดยเสียค่าใช้จ่ายต่ำถึงแม้เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้จะต่างรุ่นต่างแบบกัน ในอดีตองค์กรหลาย ๆ แห่งเสียค่าใช้จ่ายมหาศาลในการลงทุนกับเทคโนโลยีที่สนับสนุนการแลกเปลี่ยนข้อมูลภายในองค์กร ซึ่งผลที่ได้บางครั้งก็ไม่น่าพอใจ
ด้วยเหตุที่องค์กรต่าง ๆ จึงได้นำเทคโนโลยีอินทราเน็ตเข้ามาใช้ เพื่อเป็นคำตอบสำหรับการสื่อสารข้อมูลภายในองค์กร โดยใช้เทคโนโลยี
เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
อินทราเน็ต (Intranet) หมายถึง เครือข่ายเฉพาะส่วนขององค์กรหรือหน่วยงานที่นำซอฟต์แวร์หรือฮาร์ดแวร์แบบอินเทอร์เน็ตมาประยุกต์ใช้ อินทราเน็ตจึงเป็นเครือข่ายเพื่อระบบงานภายใน โดยมุ่งเน้นข้อมูลและสารสนเทศเพื่อบริการแก่บุคลากร โดยมีคอมพิวเตอร์ทำหน้าที่เป็นอินเทอร์เน็ตซอฟต์แวร์เพื่อให้บริการข้อมูลในรูปแบบเดี่ยวกับที่ใช้งานในอินเทอร์เน็ตและขยายเครือข่ายไปทุกแผนก ให้บุคลากรสามารถเรียกค้นข้อมูลและสื่อสารถึงกันได้
ประโยชน์ของอินทราเน็ต
อินทราเน็ต (Intranet) หมายถึง เครือข่ายเฉพาะส่วนขององค์กรหรือหน่วยงานที่นำซอฟต์แวร์หรือฮาร์ดแวร์แบบอินเทอร์เน็ตมาประยุกต์ใช้ อินทราเน็ตจึงเป็นเครือข่ายเพื่อระบบงานภายใน โดยมุ่งเน้นข้อมูลและสารสนเทศเพื่อบริการแก่บุคลากร โดยมีคอมพิวเตอร์ทำหน้าที่เป็นอินเทอร์เน็ตซอฟต์แวร์เพื่อให้บริการข้อมูลในรูปแบบเดี่ยวกับที่ใช้งานในอินเทอร์เน็ตและขยายเครือข่ายไปทุกแผนก ให้บุคลากรสามารถเรียกค้นข้อมูลและสื่อสารถึงกันได้
ประโยชน์ของอินทราเน็ต
- เผยแพร่เอกสารที่ต้องการสื่อสารให้พนักงานทราบทางอินทราเน็ตโดยนำไปใส่ในเว็บ ซึ่งพนักงานสามารถเปิดดูได้ วิธีนี้สามารถประหยัดกระดาษและลดค่าใช้จ่ายได้มาก
- ลดช่องว่างในการประสานงานระหว่างพนักงาน สามารถนำข้อมูลที่ต้องการให้ทีมงานออกความคิดเห็น รวบรวมการตอบสนองที่ได้มาประมวลผลได้ทันทีและสามารถสื่อสารความคืบหน้าของงาน ตามงาน และนัดเวลาประชุมได้โดย
- ผ่านอินทราเน็ต
- สามารถเชื่อมต่อระบบอินทราเน็ตกับฐานข้อมูล พนักงานสามารถค้นหาและสอบถามข้อมูลที่ต้องการได้ในทันที
- ลดเวลาในการเรียนรู้ พนักงานใช้อินเทอร์เน็ตเป็นอยู่แล้วไม่ต้องเสียเวลาเรียนรู้ ลดค่าใช้จ่ายในการอบรม
ส่วนเอ็กทราเน็ต เป็นระบบเครือข่ายที่เกิดจากการประยุกต์ใช้อินทราเน็ต โดยขยายขอบเขตการใช้เครือข่ายจากภายในไปยังภายนอกองค์กร ซึ่งในปัจจุบันธุรกิจมักมีเครือข่ายกัน เช่น ระหว่างผู้ขายวัตถุดิบกับองค์กร หรือธุรกิจที่มีสามารถอยู่ห่างไกลกันคนละจังหวัด เป็นต้น
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น